วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2560

สมาชิกในกลุ่ม

ชื่อ นายจักริน เล่ห์กล ม.5/3 เลขที่ 2
                                                อีเมล chakkarinjaja@gmail.com
                                                    http://chakkarinjaja.blogspot.com/



ชื่อ นาย พีระพงษ์ กองเกิด ชั้น ม. 5/3 เลขที่ 8
                                              อีเมล nes.ozil.08@gmail.com
                                              https://peerapong000.blogspot.com


ชื่อ นางสาว ธิติยา วิไลวรรณ เลขที่26 ม.5/3
                                                 อีเมล thitiya355@gmail.com
                              เว็บบล็อค http://thitiyabg.blogspot.com/2016/12/22-2543-171-2.html

ชื่อ อนิสรา อยู่ดี ม.5/3 เลขที่ 32
                                                  อีเมล anisara142542@gmail.com
                                               http://anisarayoodee.blogspot.com/2016/11/10.html


 ชื่อ อัณศญา เจริญกุล ห้อง ม.5/3 เลขที่ 34
อีเมล ansayapiw142542@gmail.com
http://ansayacharoenkul142542.blogspot.com/…/11/blog-post.h…






ผุ้ลงข้อมูล อัณศยา     เจริญกุล

  

VDO


 ภาพผนวก







                                               เตรียมอุปกรณ์ เพื่อที่จะทำกระเป๋า


วิธีการสาน


สมาชิกในกลุ่มร่วมมือช่วยกันทำ




รูปผลงาน


                        ผู้ลงข้อมูล  นางสาว อัณศยา    เจริญกุล



             บทที่ 5                                                                                                      สรุปผลการดำเนินงาน

สรุปผลการศึกษา

สมาชิกภายในกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการทำกระเป๋าจากซองกาแฟ มาอภิปรายผลและสรุปผลการปฏิบัติงานตาม ทำให้พบว่าการทำกระเป๋าจากซองกาแฟ ถ้าจะให้สวยงาม มีความประณีต ต้องอาศัยทักษะในการทำ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ นำไปสู่การสร้างงานที่ก่อให้เกิดรายได้เสริมระหว่างเรียนเป็นอย่างดีและนำไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไป

ข้อเสนอแนะ

1.   ผู้ที่ทำก็ต้องรักษาความสะอาด






                       
                                                       ผู้ลงข้อมูล นางสาว อนิสรา     อยู่ดี

                                                     บทที่4                                                                             ผลการศึกษา           

ผลการศึกษาค้นคว้า

                จากการศึกษาการทำกระเป๋าจากซองกาแฟ คณะผู้จัดทำสามารถศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต ค้นจากหนังสือในห้องสมุด ค้นจากผู้ชำนาญการในชุมชน ศึกษาดูรูปแบบต่างๆ ทีหลากหลาย และสวยงาม


ตารางที่ 2ผลการดำเนินงาน

สัปดาห์/วันที่
รายการที่ดำเนินการ
4 มิ.2559
ซื้ออุปกรณ์
12 มิ.2559
เตรียมอุปกรณ์
20 มิ.2559
มอบหมายงาน ของแต่ละคนในกลุ่ม จัดการของที่ซื้อมา
20 มิ.2559
ทำกระเป๋าจากซองกาแฟ
 2 ส.ค 2559
ส่งผลงาน


                                                         ผู้ลงข้อมูล นาย พีระพงษ์   กองเกิด 

                                                                                บทที่ 3
                                                                 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
                
             การจัดทำกระเป๋าจากซองกาแฟ คณะผู้จัดทำได้ศึกษามีวิธีดำเนินงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

 3.1 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ                                                                                                                                           
  1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา  2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล                                                      3. ศึกษาวิธีการทำกระเป๋า       4. จัดทำโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา                                                          5. จัดทำโครงงานทำกระเป๋าจากซองกาแฟ    6. ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน                                                                                                                
3.2 วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทำโครงงาน
     1.ซองกาแฟ       2.แมค    3.กรรไกร   4.ซิปและสายกระเป๋า                                                                                                                                                            

3.3 การสานกระเป๋าจากซองกาแฟ

การสานมีการสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์นักโบราณคดีได้พบหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการทำเครื่องจักสานในยุคหินใหม่ที่บริเวณถ่ำแห่งหนึ่งในเขตอำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด กาญจนบุรี ซึ่งทำด้วยไม้ไผ่เป็นลายขัดสองส้นประมาณว่ามีอายุราว 4000 ปีมาแล้ว                                                                  


                                                          ผู้ลงข้อมูล นายจักริน  เล่ห์กล

บทที่ 2                                                                                            

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดทำเรื่องกระเป๋าจาก ให้ความรู้เกี่ยวกับ คณะผู้จัดซองกาแฟ ทำให้ได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
 2.1 ซอกาแฟ                                                                                                                                                                     2.2 เว็บไซต์ (Website)                                                                                                                                                   2.3 โปรแกรม Adobe  Dreamweaver

2.1 ซองกาแฟ
                ซองกาแฟเป็นขยะหรือซองกาแฟเป็นสิ่งที่หาได้ง่ายเนื่องจากอาชีพหลักของชุมชนที่เราอยู่เป็นการทำสวนยางพาราและเป็นอาชีพที่นอนดึกและดื่มกาแฟกันเป็นประจำทางเราจึงได้คิดค้นวิธีจัดซองกาแฟเหล่านั้นโดยการนำกลับมาถักทอเป็นกระเป๋าที่ทั้งสวยเก๋ทันสมัยถือได้แบบไม่ต้องอายใคร      

  อุปกรณ์                                                                                                                                                                                                  1.กรรไกร (อังกฤษ: scissors) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับตัดวัสดุบาง ๆ โดยใช้แรงกดเล็กน้อย โดยใช้ตัดวัสดุเช่น กระดาษ กระดาษแข็งแผ่นโลหะบาง พลาสติกบาง อาหารบางอย่าง ผ้าเชือก และสายไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เพื่อตัดผมก็ได้ ส่วนกรรไกรขนาดใหญ่อาจใช้ตัดใบไม้และกิ่งไม้ ซึ่งมีความแข็งแรงเป็นพิเศษ

กรรไกรนั้นต่างจากมีด เพราะมีใบมีด 2 อัน ประกบกันโดยมีจุดหมุนร่วมกัน กรรไกรส่วนใหญ่จะไม่มีความคมมากนัก แต่อาศัยแรงฉีกระหว่างใบมีดสองด้าน กรรไกรของเด็กนั้นจะมีความคมน้อยมาก และมักมีพลาสติกหุ้มเอาไว้

ในภาษาไทย เรียก "กรรไกร", "กรรไตร" หรือ "ตะไกร" ส่วนในภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปเรียกว่า "scissors" แต่ในอุตสาหกรรม เรียกกรรไกรที่มีความยาวมากกว่า 15 เซนติเมตร ว่า "shears" แต่ที่นิยมเรียกในประเทศไทยคือ

 1.กรรไกร
ในทางกลศาสตร์ ถือว่ากรรไกรเป็นคานคู่ชั้น 1 (First-Class Lever) ซึ่งมีหมุดกลางทำหน้าที่เป็นจุดหมุน ส่วนการตัดวัสดุหนาหรือแข็งนั้น จะให้วัสดุอยู่ใกล้จุดหมุน เพื่อเพิ่มแรงกดให้มากที่สุด ตัวอย่างเช่นหากแรงที่ใช้ (นั่นคือ มือ) ห่างจากจุดหมุนเป็นสองเท่าของตำแหน่งที่ตัด (นั่นคือ ตำแหน่งกระดาษ) แรงที่กดบนขากรรไกรก็จะเป็นสองเท่าด้วย

กรรไกรพิเศษ เช่น กรรไกรตัดเหล็ก (bolt cutters) สำหรับงานกู้ภัย จะมีปากสั้น และด้ามยาว เพื่อให้วัสดุที่ตัดอยู่ใกล้จุดหมุนมากที่สุดนั่นเอง กรรไกรตัดเหล็กเส้นก่อสร้าง (bar cutters)  สำหรับงานก่อสร้าง โดยเฉพาะไซต์งานที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ ทำงานโดยใช้แรงกล มีด้ามยาวสำหรับโยกหมุนเฟืองเพื่อดันใบมีดเข้าหากันเพื่อตัดเหล็ก เหมาะกับการใช้ตัดชิ้นงานหยาบ ไม่สามารถใช้กับงานที่ละเอียดได้ นอกจากนี้ยังมีกรรไกรตัดเหล็กที่ใช้สำหรับตัดเหล็กแผ่น เหล็กแบน เหล็กกลม (shearing machines) ซึ่งใช้กลวิธีการทำงานคือ โยกด้ามยาวที่ติดกับตัวขับที่เป็นฟันเหล็ก และเฟืองซึ่งทำจากเหล็กขึ้นรูปร้อน โดยตัวขับจะเป็นตัวส่งกำลังไปยังตัวเลื่อน เพื่อดันใบมีดตัวบนเข้ามาใบมีดตัวล่าง และมีสปริงค้ำคันโยก ซึ่งจะช่วยป้องกันคันมือโยกไม่ให้หล่นลงมา และยังเป็นตัวทำให้เกิดความสมดุลของน้ำหนักของตัวคันมือโยกอีกด้วย                                                                             

   2.ซิป  (อังกฤษ: zip หรือ zipper หรือ zip fastener) คืออุปกรณ์ที่ช่วยยึดปลายของผ้าทั้ง 2 เข้าด้วยกันไว้ชั่วคราว ใช้กับเครื่องอาภรณ์ เสื้อผ้า กางเกง กระเป๋า อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์ปีนเขา เข้าป่า เป็นต้น
ซิปประดิษฐ์โดย วิตคัมบ์ จัดสัน วิศวกรชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1893 โดยออกแบบเป็นที่เกี่ยวห่วง ให้ติดรองเท้าบู๊ต แทนที่กลัดกระดุมที่กำลังได้รับความนิยมอยู่ขณะนั้น แต่ซิปในช่วงนั้นยังไม่ได้รับความนิยมเท่าไร ต่อมาอีก 20 ปีถัดมา กิเดียน ซุนด์แบค วิศวกรชาวสวีเดน ได้ค้นพบซิปแบบเกี่ยวที่เรียกว่า Hookless (ซึ่งแปลว่าไร้ตะขอ) มีลักษณะคล้ายซิปปัจจุบัน ทั้งสร้างเครื่องจักรผลิตฟันซิปและเครื่องติดฟันซิปเข้ากับแถบผ้าด้วย
จนในปี ค.ศ. 1918 ซิปก็ได้รับความนิยมหลังจากที่กองทัพเรือสหรัฐ สั่งซื้อซิปดังกล่าวจำนวน 10,000 ชิ้น ไปติดชุดกันลมให้นักบิน

                 3. ซองกาแฟ ถุง One-Way-Valve .ใช้สำหรับบรรจุกาแฟคั่วบด ให้สามารถยืดอายุกาแฟ ไม่ไห้เสียได้นานถึง 6 สัปดาห์ หลักการคือตัว One-Way-Valve แก๊สคาร์บอนไดออ๊กไซด์ ที่เกิดจากการคั่วกาแฟ ออกจากถุงแต่แก๊สออ๊กซิเยน ไม่สามารถเขาไปในถุงได้ ทำให้เก็บกาแฟเก็บได้นานขึ้น วัสดุที่ใช้ PET/PAL/PE


     คุณสมบัติ:

   1) ป้องกันความชื้นดีเลิศ ป้องกันออกซิเจนและแสง ทนต่ออุณหภูมิต่ำดี

   2) ความแข็งแรงปิดผนึกที่แข็งแกร่ง; ทนต่อแรงกระแทกและความแข็งแรงของการบีบอัดที่ดีเยี่ยม

   3) ไม่มีการรั่วไหล ไม่หลุดลอกแน่นอน

           •กรุณาแจ้งให้เราทราบวัสดุที่จะใช้ ขนาดความหนา สีพิมพ์และความต้องการพิเศษอื่น ๆ ของผลิตภัณฑ์ของคุณเราสามารถให้ข้อเสนอแนะพิเศษ
             •เราสามารถผลิตถุงบรรจุภัณฑ์ต่างๆและฟิล์มบรรจุภัณฑ์ตามความต้องการของคุณ ถ้าจำเป็นเราสามารถให้คำแนะนำสำหรับการอ้างอิงบางอย่าง
            •ภาพข้างบนเป็นเพียงสำหรับการอ้างอิง   การสานมีการสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์นักโบราณคดีได้พบหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการทำเครื่องจักสานในยุคหินใหม่ที่บริเวณถ่ำแห่งหนึ่งในเขตอำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด กาญจนบุรี ซึ่งทำด้วยไม้ไผ่เป็นลายขัดสองส้นประมาณว่ามีอายุราว 4000 ปีมาแล้ว                                                                                                                                     

2.2  เว็บไซต์ ( Website )

เว็บไซต์ (อังกฤษ: Website, Web site หรือ Site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะ ให้บริการต่อผู้ใช้ฟรีแต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการ เพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์ ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำ เว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือ องค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์

หลักในการออกแบบเว็บไซต์

ขั้นตอนที่ 1 กำหนดโครงสร้างของเว็บไซต์                           
การสร้างเว็บไซต์นั้นควรเริ่มจากการสร้างแผนผังของเว็บไซต์ก่อน หรือที่เรียกว่า  Site Map

ขั้นตอนที่ 2 กำหนดการเชื่อมโยงระหว่างเว็บเพจ                                                                                                       กำหนดการเชื่อมโยงให้เว็บเพจแต่ละหน้าเชื่อมโยงถึงกันเพื่อให้กลับไปกลับมา ระหว่างหน้าต่าง ๆ ได้  โดยแสดงชื่อไฟล์  HTML  แต่ละไฟล์ที่มีการเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน  

ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้า                                                                                          สามารถ ออกแบบหน้าเว็บเพจแต่ละหน้าให้สวยงาม โดยเฉพาะในเว็บเพจหน้าแรก ซึ่งเรียกว่า โฮมเพจนักเรียนควรออกแบบให้สวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชมในขั้นตอนการออกแบบ นี้ บางทีอาจเรียกว่าการออกแบบเลย์เอาท์ (Lay Out) สามารถทำ ได้โดยการเขียนลงในกระดาษ หรือใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบก็ได้ 

ขั้นตอนที่ 4 การสร้างเว็บเพจแต่ละหน้า                                                                                                                                       นำเว็บเพจที่ออกแบบไวม้าสร้างโดยใช้ภาษา html หรืออาจใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เช่น FrontPage, Macromedia  Dreamweaverหรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่น ๆ ตามความถนัด

ขั้นตอนที่ 5 การลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์                                                                                                                               การเผยแพร่เว็บไซต์ที่สร้างเสร็จแล้ว เข้าสู่ระบบพื่อให้บุคคลอื่นๆ  สามารถเข้าชมเว็บไซต์ของเราได้ วิธีการ คือ นำเว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นไปไว้บนพื้นที่ที่ให้บริการ (Web Hosting) ซึ่งมีพื้นที่ ที่ให้บริการฟรี และแบบที่ต้องเสียค่าบริการ

ขั้นตอนที่ 6 การอัพโหลดเว็บไซต์                                                                                                                  หลังจากสร้างเว็บไซต์และลงทะเบียนขอพื้นที่สำหรับฝากเว็บไซต์แล้ว   ให้ใช้โปรแกรม สำ หรับอับโหลด (Upload)  เช่นโปรแกรม  CuteFTPเพื่อให้คนทั่วโลกสามารถเข้าชมเว็บไซต์ของเรา ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้

  หลักในการสร้างเว็บเพจ

1. การวางแผน กำหนดเนื้อหา ก่อนลงทำเว็บ เราจะต้องรู้ว่าเราจะทำเว็บเกี่ยวกับอะไร เนื้อหาเป็นอย่างไร กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มใด ทั้งนี้เพื่อที่เราจะไดนำเนื้อหา เหล่านั้นมาใส่ในเว็บเพื่อแสดงให้เห็นว่าเนื้อหา โดยรวมเกี่ยวกับอะไร   เช่น  เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก็ต้องมีข้อมูลของคอมพิวเตอร์แต่ละชนิด ลักษณะ ราคาแต่ละรุ่นและสถานที่ขาย เป็นต้น                                                                                                                                                           ออกแบบมุมมองในหน้าเว็บ (LayOut) คือการจัดวางองค์ประกอบในเว็บเพจว่าส่วนใดควรจะ มีอะไร อาจทำโดยการร่างใส่กระดาษเปล่า ๆ ไว้ก่อนหรือใช้โปรแกรมแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการ ออกแบบก็ได้    การใช้ตารางช่วยในการจัดองค์ประกอบในหน้าเว็บนั้นจะทำ ให้เว็บเพจมีความเป็น ระเบียบยิ่งขึ้น และสะดวกต่อการแก้ไข ปรับปรุง 

                2. การเตรียมการ  เช่น การเตรียมการด้านข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา ภาพ เสียง หรือสิ่งจำเป็นต่างๆ ที่นักเรียนคิดว่า ต้องการจะนำเสนอในการทำเว็บเพจนั้น เมื่อเรารู้แล้วว่าเราจะทำเว็บเกี่ยวกับอะไร การรวบรวมข้อมูลก็ มีส่วนสำคัญย่างยิ่ง เช่น ถ้าจะทำเว็บ เกี่ยวกับ โรงเรียน ก็ต้องไปหาคติพจน์ประจำ โรงเรียน สีประจำโรงเรียน บุคลากรในโรงเรียน ประวัติโรงเรียน ฯลฯ มารวบรวมไว้  แล้วหลังจากนั้นก็เอาข้อมูลนั้นมา จัดรูปแบบในเว็บต่อไป การหาเครื่องมือในการจัดทำ นั้น ก็เป็นเรื่องสำคัญเครื่องมือในที่นี้ หมายถึงโปรแกรมการทำงานต่าง ๆ เช่นโปรแกรมจัดการรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ  โปรแกรมในการ จัดทำเว็บเพจจะใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ในการสร้างต้องเตรียมการให้ พร้อม

 3. การจัดทำวางแผนและเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงเวลาจัดทำ  อาจจะทำคนเดียว หรือทำ เป็นกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้ซึ่งจะอธิบายถึง วิธีการจัดทำ หรือวิธีการสร้างเว็บเพจในลำ ดับต่อไป

                4. การทดสอบและการแก้ไข การสร้างเว็บเพจทุกครั้งควรจะมีการทดสอบก่อนเผยแพร่ทุกครั้งเพื่อหาข้อบกพร่องแล้วนำมา แก้ไขการทำเว็บนั้นเมื่อทำเสร็จและอับโหลดไปไว้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์แล้วให้ทดลองแนะนำ เพื่อนที่ สนิทชิดเชื้อและใช้อินเทอร์เน็ตอยู่ ลองเปิดดูและให้บอกข้อผิดพลาดมา เช่น การเชื่อมโยงต่าง ๆ , รูปภาพ และตัวอักษร ว่าถูกต้องช้าไป หรือเปล่า หากทดสอบจากเครื่องของตนเองแล้ว ข้อผิดพลาด ต่างๆ มักจะไม่ค่อยปรากฏให้เห็นเนื่องจากว่าข้อมูลต่างๆ  จะอยู่ในเครื่องของตนเองและการเชื่อมโยง ต่างๆ เช่นกัน โปรแกรมจะทา การค้นหาในเครื่องจนพบ ทา ให้เราไม่เห็นข้อผิดพลาด หลังจากทดสอบ แล้วให้ดำเนินการแก้ไขข้อผิดพดลาด

5. การนำเว็บเพจต่าง ๆ มารวบรวมเป็นเว็บไซต์    เมื่อสร้างเว็บเพจเสร็จ จัดรวบรวม และเรียบเรียงหน้าเว็บเพจแต่ละหน้าทำ การทดสอบ แก้ไข ปรับปรุงเสร็จแล้ว ก็สามารถเผยแพร่เว็บเพจทั้งหมดออกสู่สาธารณชนในรูปแบบของเว็บไซต์ได้ 

2.3 โปรแกรม Adobe Dreamweaver                                                                                                                                  รู้จักกับ Dreamweaver

                Dreamweaver ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำหรับสร้างเว็บเพจ และ ดูแลเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพ สูง เป็นที่นิยมใช้ของ  Web Master อย่างกว้างขวาง  ซึ่งเป็นโปรแกรมสำหรับเขียนภาษา HTML โดยเฉพาะ พร้อมทั้งสามารถแทรก Java Scripts และ ลูกเล่นต่างๆได้มากมาย  โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรู้หลัก ภาษา HTML มากนัก ซึ่งช่วยประหยัดเวลา และทำงานได้สะดวกยิ่งขึ้น

ประวัติความเป็นมาของโปรแกรม Dreamweaver

            อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์ (Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดียดรีมวีฟเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแก้ไข HTML พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปัจจุบันควบ กิจการรวมกับบริษัท อะโดบีซิสเต็มส์) สำหรับการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบ WYSIWYG กับการ ควบคุมของส่วนแก้ไขรหัส HTML ในการพัฒนาโปรแกรมที่มีการรวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกันแบบนี้ ทำให้ ดรีมวีฟเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ ในประเภทเดียวกัน ในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2533 จนถึงปีพ.ศ. 2544 ดรีมวีฟเวอร์มีสัดส่วนตลาดโปรแกรมแก้ไข HTML อยู่มากกว่า 70% ดรีมวีฟเวอร์มีทั้งในระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และไมโครซอฟทว์นิโดวส์ดรีมวีฟเวอร์ยังสามารถทำงานบนระบบปฏิบัติตารางแบบยูนิกซ์ ผ่านโปรแกรมจำ ลองอย่าง WINEได้รุ่นล่าสุดคือ ดรีมวีฟเวอร์CS5

การทำงานกับภาษาต่างๆ

           ดรีมวีฟเวอร์ สามารถทำงานกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนเว็บไซต์แบบไดนามิค ซึ่งมีการ ใช้HTML เป็นตัวแสดงผลของเอกสาร เช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการ จัดการฐานข้อมูลต่างๆ อีกด้วย และในเวอร์ชันล่าสุด (เวอร์ชัน CS4) ยังสามารถทำ งานร่วมกับ XML และ CSS ได้อย่างง่ายดาย

 ความสามารถของ Dreamweaver

                ในการเขียนเว็บเพจ จะมีลักษณะคล้ายกับการพิมพ์งานในโปรแกรม Text Editor ทั่วไป คือว่า มันจะเรียงชิดซ้ายบนตลอดเวลา ไม่สามารถย้าย หรือ นำไปว่างตำแหน่งที่ต้องการได้ทันที่เหมือน โปรแกรมกราฟฟิก เพราะฉะนั้นหากเราต้องการจัดวางรูปแบบตามที่เราต้องการ ก็ใช้ตาราง Table เข้ามา ช่วยจัดตำแหน่ง ซึ่งเมื่อมีการจัดวางรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น การเขียนภาษา HTML ก็ซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่นกัน โปรแกรม Dreamweaver อาจจะไม่สามารถเขียนเว็บได้ตามที่เราต้องการทั้งหมด วิธีการแก้ไข ปัญหาที่ดีที่สุดคือ ควรจะเรียนรู้หลักการของภาษา HTML ไปด้วย ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นมากสำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพ Webmaster แบบจริงจัง อาจจะไม่ต้องถึงกับท่องจำ  Tag ต่าง ๆ ได้ทั้งหมด แต่ขอให้รู้ เข้าใจหลักการก็พอแล้ว เพราะหลาย ๆ ครั้งที่เราจะเขียนเว็บใน Dreamweaver แล้วกลับ ได้ผลผิดเพี้ยนไป ไม่ตรงตามที่ต้องการ ก็ต้องมาแก้ไข Code HTML เอง และความสามารถของ Dreamweaver สรุปได้ดังนี้

 1. สนับสนุนการทำงานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You Get) หมายความว่า เว็บที่เราเขียนหน้าจอ Dreamweaver ก็จะแสดงแบบเดียวกับเว็บเพจจริงๆ ช่วยให้เราเขียนเว็บเพจง่าย ขึ้น ไม่ต้องเขียน Code HTML เอง                                                                                                                                                                                  2. มีเครื่องมือในการช่วยสร้างเว็บเพจที่มีความยืดหยุ่นสูง                                                                                               3. สนับสนุนภาษาสคริปต์ต่างๆ ทั้งฝั่ง Client และ Server เช่น Java, ASP, PHP, CGI, VBScript                                 4. มีเครื่องมือในการ Upload หน้าเว็บเพจไปที่เครื่อง Server เพื่อทำการเผยแพร่งานที่เราสร้าง ในอินเทอร์เน็ต โดยการส่งผ่าน FTP หรือ โดยการใช้โปรแกรม FTP ภายนอกช่วย เช่น WS FTP                                                                    5. รองรับมัลติมีเดีย เช่น การใส่เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอการใช้งานร่วมกับ Flash , Fireworks  





                                                    ผู้ลงข้อมูล นางสาว อัณศยา  เจริญกุล